วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

เรื่องย่อนิทานเวตาล

 ณ ฝั่งแม่น้ำโคทาวรี มีพระมหานครแห่งหนึ่งตั้งอยู่นามว่า ประดิษฐาน ที่เมืองนี้ในสมัยบรรพกาลมีพระราชาธิบดีองค์หนึ่ง ทรงนามว่า ตริวิกรมเสน ได้ครองราไชศวรรย์มาด้วยความผาสุก พระองค์เป็นราชโอรสของพระเจ้าวิกรมเสนผู้ทรงเดชานุภาพเทียมท้าววัชรินทร์
          ต่อมาได้มีนักบวชชื่อ ศานติศีล ได้นำผลไม้มาถวายทุกวันมิได้ขาด ซึ่งพระราชาแปลกใจ และได้ไปพบในคืนหนึ่งตามนัด ได อ่านเพิ่มเติม

คำศัพท์จากเรื่องอิเหนา

กระทรวง          หมู่
กระยาหงัน        สวรรค์
กราย                เคลื่อนไหวอย่างมีท่าทีหรือลีลาในการใช้อาวุธ
กลับกลอก        พลิกไปพลิกมา ที่นี้หมายถึงขยับอาวุธ
กล่าว                ที่นี้หมายถึง สู่ขอ
กะระตะ             กระตุ้นให้ม้า้เดิน หรือ วิ่ง  อ่านเพิ่มเติม

ประวัติผู้แต่งอิเหนา

เนื้อหาเรื่อง อิเหนา
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร.๒)
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ร.๑) ทรงพระราชสมภพ พ.ศ. ๒๓๑๐ ได้โดยเสด็จพระบรมชนกนาถไปในกองทัพตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ได้รับการสถาปนาเป็นส อ่านเพิ่มเติม

คุณค่าด้านกลวิธีการแต่ง

แนวคิด  เรื่องอิเหนา  ตอนศึกกะหมังกุหนิง  เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูก  รักและตามใจทุกอย่าง แม้นกระทั่วตัวตายก็ยอม
     ฉาก ตอนศึกกะหมังกุหนิงจะปรากฎฉากรบที่ชัดเจน  มีการตั้งค่าย  การใช้อาวุธ  และการต่อสู้ของตัวละคร อ่านเพิ่มเติม

ตัวอย่างโครงสี่สุภาพ

โคลงสี่สุภาพหนึ่งบทจะมี ๔ บรรทัด บรรทัดหนึ่งเรียกว่า "บาท" เพราะฉะนั้นโคลงสี่สุภาพหนึ่งบท จะมี ๔ บาท ในบาทหนึ่งจะมี ๒ วรรค วรรคหน้าจะมี ๕ คำ วรรคหลังของบาทที่ ๑ บาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ จะมี ๒ คำ ส่วนวรรคหลังของบาทที่ ๔ จะมี ๔ คำ ซึ่งรวมแล้วโคลงสี่สุภาพหนึ่งบทจะมีจำนวนคำทั้งสิ้น ๓๐ คำ
        จำนวนพยางค์ต้องมีตามหน่วยที่ได้เขียนไว้ในแผนผัง ถ้าหากเป็นพยางค์ลักษณะของลหุอาจจะมีได้มากเกินกว่าที่แผนผังได้กำหนดไว้ก็ได้ แต่จะต้องไม่ยา อ่านเพิ่มเติม

คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์ นั้น มีที่มาอยู่ 2 อย่าง คือ
  1. รับมาจากภาษาอื่น ภาษาเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็นต้น ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น อาพาธ เนตร หัตถ์ โอรส  เป็นต้น
  2. การสร้างคำขึ้นใหม่ โดยการประสมคำ เช่น ลูกหลวงซับพระพักตร์ ตั้งเครื่อง เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม

นิราศนรินทร์คำโคลง

  นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ   พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบา อ่านเพิ่มเติม

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ

ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ อ่านเพิ่มเติม

อิเหนา

ในชวาสมัยโบราณ มีกษัตริย์ปกครองเมืองใหญ่เมืองน้อย กษัตริย์วงศ์เทวาซึ่งถือว่าเป็นชาติตระกูลสูงสุด ด้วยสืบเชื้อสายมาจากเทวดา ใช้คำนำหน้าพระนามว่า ระเด่น ส่วนกษัตริย์นอกวงศ์นั้น ใช้คำว่า ระตู เริ่มต้นบทละครเรื่องนี้ กล่าวถึงกษัตริย์วงศ์ 4 องค์ ต่างเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา ทรงพระนามว่าท้าวกุเรปัน ท้าวดาหา ท้าวกาหลัง ท้าวสิงหัดส่าหรี ครองเมือง 4 เมือง ซึ่งมีชื่อเช่นเดียวกับพระนามกษัตริย์ ทุกพระองค์ต่างก็มีมเหสี 5 องค์ ตามประ อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการคุณานุคุณ

  คำนมัสการคุณานุคุณ  ผลงานการประพันธ์ของ  พระยาศรีสุนทรโวหาร  (น้อย  อาจารยางกูร)  มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกในคุณงามความดีของพระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์  บิดามารดา  และครูอาจารย์  โดยมีความมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทยตั้งอยู่ในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน อ่านเพิ่มเติม